Last updated: 21 ก.ค. 2564 | 14300 จำนวนผู้เข้าชม |
เมื่อดูจิตไปเนืองๆ จะ
มีสภาวธรรมเกิดขึ้นจากการปฏิบัติ บางครั้งเกิดอาการซาบซ่านทั่วร่างกาย ตัวเบาเหมือนจะลอย น้ำตาไหล ตัวโยกไปมา คันเหมือนมดไต่ ตัวแข็งเหมือนหิน ลมหายใจหายไป ตัวหายไป ไม่รู้สึกว่ามีร่างกายนี้อยู่เลย กายทิพย์แยก
สิ่งที่เกิดขึ้น ให้ทำในใจว่า " นี่คือสภาวธรรม เปลี่ยนแปลงไปตามเหตุ ไม่ควรยึดมั่น"
เมื่อดูจิตไปเนืองๆ จะมีสภาวธรรมเกิดขึ้นจากการปฏิบัติ บางครั้งเกิดอาการซาบซ่านทั่วร่างกาย ตัวเบาเหมือนจะลอย น้ำตาไหล ตัวโยกไปมา คันเหมือนมดไต่ ตัวแข็งเหมือนหิน ลมหายใจหายไป ตัวหายไป ไม่รู้สึกว่ามีร่างกายนี้อยู่เลย กายทิพย์แยก สิ่งที่เกิดขึ้น ให้ทำในใจว่า " นี่คือสภาวธรรม เปลี่ยนแปลงไปตามเหตุ ไม่ควรยึดมั่น"
บาง ครั้ง ประคองจิตไป จิตจะเริ่มนิ่ง ดิ่งลงภวังค์ เหมือนเคลิ้ม หรือเวลานอน อาจจะรู้สึกเหมือนนอนไม่หลับ เพราะจิตตื่นอยู่ ให้รู้สึกไว้ ... ความรู้สึกจะผสานกับความนิ่ง จิตดิ่ง แต่รู้สึกตัวตื่นอยู่ในภวังค์
อาการ ต่างๆ เช่นแน่น อึดอัดในหน้าอก มึนศีรษะคล้ายจะอาเจียน บางครั้งมีอาการหนาวๆร้อนๆ ปวดเมื่อยถึงกระดูกข้างใน มีสภาวะเหมือนลูกศรเสียบ อก เจ็บแปล๊บเข้าถึงหัวใจ เหมือนหัวใจถูกกระชาก ..ให้นิ่ง รู้สึกที่จิต แล้วน้อมแผ่เมตตาไป "ให้มีความสุข"
สิ่งเหล่านี้อาจจะเกิดขึ้น เป็นสภาวธรรมจากการปฏิบัติ และเป็นการใช้บาปกรรมทั้งหลายด้วยสภาวธรรมภายใน หรือแม้แต่บางท่านที่ไม่เคยปฏิบัติ แต่นิ่งอยู่กับการทำงานนานๆ ปล่อยวางความคิดและอารมณ์ เมื่อปล่อยวางภายในมากเข้า มีอาการใจสั่น เต้นแรงขึ้น ในบางเวลามีอาการวูบวาบทั่วร่างกาย หรือวูบแล้วหายไป หรือมีอาการเจ็บตรงกลางหน้าอก ทั้งที่ภายในของตนเองก็ยังนิ่งๆอยู่ ไม่ได้ตึงเครียดอะไร แต่สภาวะนี้ก็ไม่หายไป บางท่านก็ไปหาหมอ เพราะนึกว่าตนเองเป็นโรคหัวใจ แต่ทานยาแล้ว สภาวะนี้ก็ไม่หายไป เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นสภาวธรรมนั่นเอง
เรือที่ตรงไปตามเข็มทิศ .. เมื่อเจอพายุหรือสิ่งรบกวน
ไม่หวั่นไหวออกไปนอกเส้นทาง ย่อมถึงจุดหมายได้ฉันใด
จิตที่รู้สึกตัว .. ไม่ว่าสภาวธรรมใดเกิดขึ้น
ไม่ยึดมั่น จึงไม่หวั่นไหว ย่อมถึงจุดหมาย
คือ ความเป็นอิสระจากความทุกข์
พบความสุขที่แท้จริงได้ฉันนั้น
When you practice mindfulness regularly, you will experience phenomenon. Sometimes you may feel tingling all over your body, or your body may seem lighter like it is floating up, your eyes may become teary, your body may sway back and forth, or feel itchy like ants are crawling all over, or your body becomes stiff like a stone, your breath seems to leave you, your body seems disappeared, you do not feel your body at all, you may have an out-of-body experience, whatever the case may be, just remember that these are natural Dharma phenomenon that happens due to what causes them. Do not get attached to it.
Sometimes, when you monitor your mind, you may feel that your mind is going in deeper, like you are in a trance or when you lie in bed, you may feel like you cannot sleep, it is because your mind is awake; just realize that your feelings are fused to serenity. Your mind dips in deeper but you are conscious in your trance.
When we practice mindfulness regularly, if any temptations occur, the inner consciousness will eliminate such temptations, like a thermostat that cuts off power automatically. What happens when temptations are eliminated is your body will sway back and forth, to outsiders, it looks like you are sleepy and nodding off but in fact, your inner mind is awake.
All symptoms that make you feel tight at your chest, or dizzy and sick in your stomach, or flashes of hot and cold, or muscle-ache that seems to go as deep as your bone, or feeling like being stabbed in the chest, or sharp pain in your heart like it is ripped off, just stay calm and radiate compassion, “May they be happy.”
All said symptoms may occur from the practice and they are the way to pay back all karma with your inner Dharma phenomenon. People who never practice this, but are absorbed in their work for a long time, their mind and mood may be relaxed, the inner mind is calm; these people may experience rapid heartbeats, or flashes all over their bodies, or feel fainted for a moment, or hurt at the chest center. Some of the people may go to consult their doctors thinking they may experience a heart attack, but taking their pills do not resolve the symptoms; that is because the symptoms are natural Dharma phenomenon.
8 ธ.ค. 2565
31 ม.ค. 2563
25 ม.ค. 2561
8 ธ.ค. 2565